ภาคเหนือ

ပြင်ဆင်ရန်

เชียงใหม่

ပြင်ဆင်ရန်
ลำดับ ชื่อ เริ่ม สิ้นสุด รวมระยะเวลา
 - พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)

(พระยาจ่าบ้าน)

พ.ศ. 2317 พ.ศ. 2319 2 ปี
1 พระเจ้ากาวิละ พ.ศ. 2325 พ.ศ. 2356 31 ปี
2 พระยาธรรมลังกา

(เจ้าหลวงช้างเผือก)

พ.ศ. 2356 พ.ศ. 2366 10 ปี
3 พระยาคำฟั่น

(เจ้าหลวงเศรษฐี)

พ.ศ. 2366 พ.ศ. 2368 2 ปี
4 พระยาพุทธวงศ์

(เจ้าหลวงแผ่นดินเย็น)

พ.ศ. 2369 พ.ศ. 2389 20 ปี
5 พระเจ้ามโหตรประเทศ พ.ศ. 2390 พ.ศ. 2397 7 ปี
6 พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงษ์ พ.ศ. 2399 พ.ศ. 2413 14 ปี
7 พระเจ้าอินทวิชยานนท์ พ.ศ. 2416 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2440[] 24 ปี
8 เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444[] 5 มกราคม พ.ศ. 2453[] 9 ปี
9 เจ้าแก้วนวรัฐ 23 มกราคม พ.ศ. 2453[] 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482 29 ปี
10 เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 32 ปี
11 เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 พ.ศ. 2532 17 ปี
12 เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ พ.ศ. 2532 ปัจจุบัน 28 ปี
ลำดับ ชื่อ เริ่ม สิ้นสุด รวมระยะเวลา
68 เจ้าราชบุตร (หมอกฟ้า ณ น่าน) 2474 2501 27 ปี
69 เจ้าโคมทอง ณ น่าน 2501 2536 35 ปี
70 เจ้าสมปรารถนา ณ น่าน 2536
ลำดับ ชื่อ เริ่ม สิ้นสุด รวมระยะเวลา
 - พระยาแสนซ้าย ยังไม่มีข้อมูล ยังไม่มีข้อมูล
22 พระยาเทพวงศ์ (หรือ เจ้าหลวงเทพวงศ์ลิ้นตอง) พ.ศ. 2361 พ.ศ. 2373 12 ปี
23 พระยาอินทวิไชย (หรือ เจ้าหลวงอินต๊ะวิไจย) พ.ศ. 2373 พ.ศ. 2414 41 ปี
24 พระยาพิมพิสารราชา (หรือ เจ้าหลวงพิมพิสาร) พ.ศ. 2415 พ.ศ. 2432 16 ปี
25 เจ้าพิริยเทพวงษ์ พ.ศ. 2432 พ.ศ. 2445 13 ปี
26 เจ้าอินทร์แปลง เทพวงศ์ พ.ศ. 2445 พ.ศ. 2463 18 ปี
27 โชติ แพร่พันธุ์ พ.ศ. 2463 5 เมษายน พ.ศ. 2499 36 ปี
28 นายมานะ แพร่พันธุ์ 5 เมษายน พ.ศ. 2499

แม่ฮ่องสอน

ပြင်ဆင်ရန်
ลำดับ ชื่อ เริ่ม สิ้นสุด รวมระยะเวลา
1 พญาสิงหนาทราชา (ชานกะเล) 2417 2427 14 ปี
2 เจ้าแม่นางเมี้ยะ (เจ้านางเมี้ยะ) 2427 2434
3 พญาพิทักษ์สยามเขต (ปู่ขุนโท้ะ) 2434 2450
4 พญาพิศาลฮ่องสอนกิจ

หรือ พญาพิศาลฮ่องสอนบุรี (ขุนหลู่ หรือ ขุนหลู่ชิง)

2450 2484
ลำดับ ชื่อ เริ่ม สิ้นสุด รวมระยะเวลา
1 พระญาสุลวะฤๅไชยสงคราม พ.ศ. 2275 พ.ศ. 2306 31 ปี
2 เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว  พ.ศ. 2306 พ.ศ. 2317 11 ปี
3 พระยากาวิละ พ.ศ. 2317 พ.ศ. 2325 8 ปี
4 พระยาคำโสม พ.ศ. 2325 พ.ศ. 2337 12 ปี
5 พระเจ้าดวงทิพย์ พ.ศ. 2337 พ.ศ. 2368 31 ปี
6 พระยาไชยวงศ์ พ.ศ. 2369 พ.ศ. 2380 21 ปี
7 พระยาขัติยะ พ.ศ. 2380
8 พระยาน้อยอินทร์ พ.ศ. 2381 พ.ศ. 2391 10 ปี
9 เจ้าวรญาณรังษี พ.ศ. 2399 พ.ศ. 2414 15 ปี
10 เจ้าพรหมาภิพงษธาดา พ.ศ. 2416 พ.ศ. 2435(บางตำราว่า พ.ศ. 2429) 29 ปี
11 เจ้าหลวงพรหมาภิพงษ์ธาดา พ.ศ. 2429 พ.ศ. 2435
12 เจ้านรนันทไชยชวลิต พ.ศ. 2435 พ.ศ. 2438[] พระโอรสในเจ้าวรญาณรังษี
13 เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต พ.ศ. 2440 พ.ศ. 2465 พระโอรสในเจ้านรนันทไชยชวลิต
14 เจ้าราชบุตร (แก้วเมืองพวน ณ ลำปาง) พ.ศ. 2465 พ.ศ. 2468 ผู้รั้งตำแหน่งเจ้านคร[]
15 เจ้าราชวงศ์ (แก้วปราบเมรุ ณ ลำปาง) พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2482 (14 ปี)
16 พระเพชรคีรีศรีสงคราม (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง) พ.ศ. 2482 พ.ศ. 2513 (31 ปี)
17 เจ้าเดชา ณ ลำปาง พ.ศ. 2513 30 มิถุนายน พ.ศ. 2558 (45 ปี)
18 เจ้าศรีรัตน์ ณ ลำปาง 30 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ปัจจุบัน
ลำดับ ชื่อ เริ่ม สิ้นสุด รวมระยะเวลา
1 พระยาคำฟั่น พ.ศ. 2357 พ.ศ. 2358 1 ปี
2 พระเจ้าลำพูนไชย (บุญมา) พ.ศ. 2358 พ.ศ. 2370 12 ปี
3 พระยาน้อยอินท์ พ.ศ. 2370 พ.ศ. 2381 11 ปี
4 พระยาคำตัน พ.ศ. 2381 พ.ศ. 2384 3 ปี
5 พระยาน้อยลังกา พ.ศ. 2384 พ.ศ. 2386 2 ปี
6 เจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ พ.ศ. 2386 พ.ศ. 2414 28 ปี
7 เจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์ พ.ศ. 2414 พ.ศ. 2431 17 ปี
8 เจ้าเหมพินธุไพจิตร พ.ศ. 2431 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439[] 8 ปี
9 เจ้าอินทยงยศโชติ พ.ศ. 2439 พ.ศ. 2454[] 15 ปี
10 เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ พ.ศ. 2454 พ.ศ. 2486 32 ปี
11 เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน พ.ศ. 2486 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 52 ปี
12 เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 ปัจจุบัน

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ပြင်ဆင်ရန်

มหาสารคาม

ပြင်ဆင်ရန်
ลำดับ ชื่อ เริ่ม สิ้นสุด รวมระยะเวลา
1 พระเจริญราชเดช (ท้าวมหาชัย กวด ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม) 2408 2422 14 ปี
2 พระเจริญราชเดช (ท้าวไชยวงษา ฮึง ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม) 2422 2443 21 ปี
3 อุปฮาด (เถื่อน รักษิกจันทร์) 2443 2444 1 ปี
4 พระเจริญราชเดช (ท้าวโพธิสาร อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม) 2444 2461 17 ปี

ร้อยเอ็ด

ပြင်ဆင်ရန်
ลำดับ ชื่อ เริ่ม สิ้นสุด รวมระยะเวลา
1 พระขัติยะวงษา ( ธน ธนสีลังกูร )  2308 2326 18 ปี
2 พระขัติยะวงษา ( สีลัง ธนสีลังกูร ) 2326 2389 63 ปี
3 พระขัติยะวงษา ( อินทร์ ธนสีลังกูร )  2389 2392 3 ปี
4 พระขัติยะวงษา ( จันทร์ ธนสีลังกูร ) 2392 2408 16 ปี
5 พระขัติยะวงษา ( สาร ธนสีลังกูร )  2408 2419 11 ปี
6 พระขัติยะวงษา ( เสือ ธนสีลังกูร ) 2420 2425 5 ปี
7 พระขัติยะวงษา ( เภา ธนสีลังกูร ) 2429 2434
8 หลวงรัตนวงษ (ผึ่ง ธนสีลังกูร)

อุบลราชธานี

ပြင်ဆင်ရန်
ลำดับ ชื่อ เริ่ม สิ้นสุด รวมระยะเวลา
1 พระปทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล ) 2325 2338 13 ปี
2 พระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าทิดพรหม พรหมวงศานนท์ ) 2338 2388 50 ปี
3 เจ้าราชบุตรสุ้ย 2388
4 พระพรหมราชวงศา (กุทอง สุวรรณกูฏ) 2388 2409 21 ปี
5 เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ (เจ้าหน่อคำ) 2409 2425 16 ปี

พระนครศรีอยุธยา

ပြင်ဆင်ရန်
ลำดับ ชื่อ เริ่ม สิ้นสุด รวมระยะเวลา
1 เจ้าพระยาชัยวิชิตสิทธิสงคราม สมัยรัชกาลที่ 1 สมัยรัชกาลที่ 3
2 พระยาชัยวิชิตสิทธิสาตรามหาประเทศราชสุรชาติเสนาบดี สมัยรัชกาลที่ 3 สมัยรัชกาลที่ 4
3 พระยามหาสิริธรรมพโลปถัมภ์เทพทราวดีศรีรัตนธาดามหาปเทศาธิบดีอภัยพิริยะปรากรมพาหุ สมัยรัชกาลที่ 4 สมัยรัชกาลที่ 4
4 พระยาสีหราชฤทธิไกรยุตินัเนติธรรมธาดามหาปเทศาธิบดีอภัยพิริยะปรากรมพาหุ สมัยรัชกาลที่ 4 สมัยรัชกาลที่ 4
5 พระยาชัยวิชิตสิทธิศักดามหานคราธิการ สมัยรัชกาลที่ 4 สมัยรัชกาลที่ 5
6 พระยาชัยวิชิตสิทธิสาตรามหาปเทศาธิบดี (สิงห์โต) สมัยรัชกาลที่ 5 สมัยรัชกาลที่ 5
7 พระยาเพชรชฎา (นาค ณ ป้อมเพชร) หรือ พระยาชัยวิชิตสิทธิศักดามหานคราธิการ สมัยรัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2440
8 หลวงวิชิตอัคนีนิภา (ขาว ณ ป้อมเพชร์) พ.ศ. 2440 16 ธันวาคม พ.ศ. 2484 44 ปี
9 หลวงประดิษฐ์มนูธรรม 16 ธันวาคม พ.ศ. 2484 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 41 ปี
10 พูนศุข พนมยงค์ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 24 ปี
11 ลลิตา พนมยงค์ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 7 ปี
12 ศุขปรีดา พนมยงค์ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

พิษณุโลก

ပြင်ဆင်ရန်
ลำดับ ชื่อ เริ่ม สิ้นสุด รวมระยะเวลา
1 เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง)  2311
2 นายพันโท หลวงพิสณฑ์ยุทธการ (ปึก โรจนกุล) 2311 233x
3 หลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล)  233x 2418
4 2418

สมุทรปราการ

ပြင်ဆင်ရန်
ลำดับ ชื่อ เริ่ม สิ้นสุด รวมระยะเวลา
1 พระยานครเขื่อนขันธ์ รามัญราชชาติเสนาบดี ศรีสิทธิสงคราม (ทอมา คชเสนี) 
2 พระยาดำรงราชพลขันธ์ (จุ้ย คชเสนี)
3 พระยาดำรงราชพลขันธ์ (นกแก้ว คชเสนี)
4 พระยาขยันสงคราม (เจ๊ก คชเสนี)
5 พระยาเกียรติ (นกขุนทอง คชเสนี)
6 พระยาดำรงราชพลขันธ์ (หยอด คชเสนี) 
7 พระยาเทพผลู (ทองคำ)
8  พระยาพินิจมนตรี (ปุย คชเสนี) 
9 พระยานาคราชกำแหง (แจ้ง คชเสนี) 
10 พระยาพายัพพิริยกิจ(เป้า จารุเสถียร) 
11 พระประแดงบุรี (โต) 
12 พระพิชัยบุรินทรา (สะอาด)
(10) พระยาพายัพพิริยกิจ(เป้า จารุเสถียร)  2457
13 ประภาส จารุเสถียร 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540
14 สุภาพร กิตติขจร 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540 17 มีนาคม พ.ศ. 2548 7 ปี
15 เกริกเกียรติ กิตติขจร 17 มีนาคม พ.ศ. 2548

ภาคตะวันออก

ပြင်ဆင်ရန်

ภาคตะวันตก

ပြင်ဆင်ရန်

นครศรีธรรมราช

ပြင်ဆင်ရန်
ลำดับ ชื่อ เริ่ม สิ้นสุด รวมระยะเวลา
1  พระเจ้านครศรีธรรมราช (หนู) 2319 2327 8 ปี
2 เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (พัฒน์) 2327 2354 27 ปี
3 เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) 2354 2384 30 ปี
4 เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อยกลาง) 2384 2410 26 ปี
5 เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (พร้อม ณ นคร) 2410 2440 30 ปี
6 พลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) 2440 2504 64 ปี
7 พร้อม ณ นคร 2504 2544 40 ปี
8 ประทีป ณ นคร 2544 2553 9 ปี
9 สมใจ ณ นคร 2553 ปัจจุบัน
ลำดับ ชื่อ เริ่ม สิ้นสุด รวมระยะเวลา
1 หลวงระนอง (นายระนอง) สมัยรัชกาลที่ 2 พ.ศ. 2397
2 พระยารัตนเศรษฐี (คอซูเจียง ณ ระนอง) พ.ศ. 2397 พ.ศ. 2420 23 ปี
3 พระยารัตนเศรษฐี (คอซิมก๊อง ณ ระนอง) พ.ศ. 2420 พ.ศ. 2433 13 ปี
4 พระยารัตนเศรษฐี (คออยู่หงี่ ณ ระนอง) พ.ศ. 2433 พ.ศ. 2460 27 ปี
5 พระระนองบุรีศรีสมุทเขตต์ (คออยู่โง้ย) พ.ศ. 2460 พ.ศ. 2468 8 ปี
6 พระยาอมรศักดิ์ประสิทธิ์ (ทนง บุญนาค) พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2472 4 ปี
7 พระอมรฤทธิธำรง (พร้อม ณ ถลาง) พ.ศ. 2472 พ.ศ. 2476 4 ปี
8 พระบูรพทิศอาทร (คออยู่เพิ่ม ณ ระนอง) พ.ศ. 2476 พ.ศ. 2482 6 ปี
ลำดับ ชื่อ เริ่ม สิ้นสุด รวมระยะเวลา
1 พระสงขลา (วิเถียน)
2 พระสงขลา (โยม)
3 พระยาสุวรรณคีรีสมบัติ (เหยี่ยง แซ่เฮา) 2318 2327 9 ปี
4 เจ้าพระยาอินทคีรีศรีสมุทรสงครามรามภักดี อภัยพิริยบรากรมพาหุ (บุญหุ้ย) 2327 2355 28 ปี
5 พระยาวิเศษภักดี (เถี้ยนจ๋ง) 2355 2360 5 ปี
6 พระยาวิเชียรคีรี (เถี้ยนเส้ง ณ สงขลา) 2360 2390 30 ปี
7 เจ้าพระยาวิเชียรคีรี (บุญสัง) 2390 2408 18 ปี
8 เจ้าพระยาวิเชียรคีรี (เม่น) 2408 2427 19 ปี
9 พระยาวิเชียรคีรี (ชุ่ม) 2427 2431 4 ปี
10 พระยาวิเชียรคีรี (ชม) 2431 2444 13 ปี
11 พระยาอภิรักษ์ราชอุทยาน (ฑิตย์) 2444 2516 72 ปี
12 พันเอกถัด ณ สงขลา  2516
13 พร้อมศักดิ์ ณ สงขลา
14 นายสุรศักดิ์ ณ สงขลา
  1. ข่าวพระเจ้านครเชียงใหม่ถึงแก่พิลาไลย
  2. การตั้งเจ้าอุปราชเมืองนครเชียงใหม่เป็นเจ้าผู้ครองนคร
  3. ข่าวพิราไลย
  4. แจ้งความกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ให้เจ้าอุปราช (เจ้าแก้ว) ว่าที่เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่
  5. ข่าวพิลาไลย
  6. ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2466 เล่มที่ 40 หน้า82
  7. ข่าวพิลาไลย (เจ้าเหมพินธุไพจิตร เจ้านครลำพูน)
  8. ข่าวพิราไลยราชกิจจานุเบกษา เล่ม 27 วันที่ 26 มีนาคม ร.ศ. 129 หน้า 3124